วันอาทิตย์ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2554

microsoft excel

Microsoft Excel 2002

เป็นหนึ่งในชุดโปรแกรมไมโครซอฟท์ออฟฟิต
XP
โดยเป็นโปรแกรมทางด้านการจัดการ
แผ่นงาน
(Worksheet)
ที่มีขีดความสามารถสูงไม่ว่าจะเป็นงานในด้านการคำนวณ การจัดการ
ฐานข้อมูล
(Database) การสร้างแผนภูมิ (Char)
และการวาดรูปในแบบกราฟิค ตลอดจนการ
เชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ต

การเรียกใช้
Microsoft Excel
1.
คลิกที่ปุ่ม Start บนแถบงานของ
Windows
2.
ชี้ไปที่ All Programs หรือ
Programs
3.
เลือก Microsoft Excel
ส่วนประกอบที่สำคัญของโปรแกรม
Microsoft Excel
หน้าจอหลัก
แบ่งเป็น 3
ส่วนคือ
1.
เมนูหลักของคำสั่งต่างๆ ทั้งหมดที่ใช้ในโปรแกรม Excel
สามารถใช้ได้จากการคลิกที่ชื่อเมนู
เช่น
File หลังจากนั้นจะปรากฏเมนูย่อยมาให้เลือกคำสั่งที่ต้องการ
2
เป็นส่วนที่เป็นคำสั่งต่างๆ ที่มักใช้บ่อยๆ โดยมีลักษณะเป็นปุ่มรูปต่างๆ วิธีการสั่งคำสั่งต่างๆ
เหล่านี้สามารถทำได้โดยการนำ
Mouse มาคลิก
3.
ที่จัดการกับตัวอักษรหรือข้อความ เราสามารถกำหนดชนิดตัวอักษร หรือขนาดตัวอักษรที่จะ
4.
เป็นส่วนที่ใช้สำหรับการพิมพ์สูตรหรือข้อความที่จะใส่ลงใน Cell
ส่วนที่
2 คือส่วนที่ใช้สำหรับทำงานเช่นการพิมพ์งาน การสร้างกราฟต่างๆ
รายละเอียดภายใน
Worksheet
1.
คอลัมน์
Worksheet
แต่ละแผ่นจะถูกแบ่งออกเป็นช่องๆ ตามแนวตั้งเรียกว่าคอลัมน์ โดยจะมี
ทั้งหมด
256 คอลัมน์เริ่มตั้งแต่ A-Z, AA-AZ, BA-BZ,… , IA-IV
2.
แถว
คือการแบ่ง
Worksheet ออกตามแนวนอนเป็นช่องๆ เรียกว่าแถวจำนวนทั้งหมด 65536
แถว โดยเริ่มตั้งแต่แถวที่
1 ถึง 65536 แถว
คือช่องแต่ละช่องที่เกิดขึ้นจากการแบ่ง
Worksheet
ออกเป็นแถวและคอลัมน์ การ
อ้างอิง
Cell จะอ้างอิงโดยใช้ชื่อคอลัมน์และตามด้วยแถว เช่น C2 จะหมายถึง Cell
ที่อยู่
ที่คอลัมน์
C แถวที่ 2 เป็นต้น
คือส่วนที่ใช้แสดงตำแหน่งของ
Cell ที่กำลังทำงานอยู่ในขณะนั้น (
ข้อมูลต่างๆ ที่พิมพ์
จะปรากฏใน
Cell ที่ Cell Pointer อยู่) Cell Pointer จะมีลักษณะดังรูป
ส่วนที่
3 คือส่วนที่แสดง Worksheet ที่กำลังทำงานอยู่หรือใช้เลือก Worksheet
ที่ต้องการและ
-
4 -
1.
เลื่อน Cell Pointer ไปยัง Cell ที่ต้องการ
2.
พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
3.
กดปุ่ม Enter หรือลูกศรใดๆ
ตัวอย่าง
จงพิมพ์ข้อความต่อไปนี้
คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญของ
Excel
คือการสร้างสูตรเพื่อใช้สำหรับการคำนวณ การสร้าง
1.
เลื่อน Cell Pointer ไปยัง Cell ที่ต้องการใส่สูตร
2.
พิมพ์เครื่องหมาย = แล้วตามด้วยสูตรที่ต้องการ
3.
กดปุ่ม Enter
ตัวอย่าง
จงพิมพ์ =500 + 400 ลงในตำแหน่ง C5
สังเกตว่าหลังจากกดปุ่ม
Enter แล้ว ข้อมูลที่แสดงในตำแหน่ง C5
จะเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการ
-
5 -
นอกจากการสร้างสูตรที่ระบุจากตัวเลขโดยตรงแล้ว เรายังสามารถสร้างสูตรที่อ้างอิงจาก
ค่าตัวเลขที่อยู่ใน
Cell อื่นๆ ได้อีกด้วย ดังตัวอย่าง
ตัวอย่าง
จงพิมพ์ข้อมูลต่อไปนี้
สังเกตผลลัพธ์ที่ช่อง
C5 ว่าจะเป็น 950 ซึ่งเกิดจากการนำเอา 550 + 400
ข้อดีของการใช้สูตรภายใน
Excel คือ เมื่อค่าที่อยู่ภายใน Cell
ที่อ้างอิงภายในสูตรมีการ
ตัวอย่าง
ให้ทดลองเปลี่ยนข้อมูลในช่อง C3 ให้เป็น 620 จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
-
6 -
หลังจากที่สร้าง
Worksheet หรือถ้าจะพูดให้ถูกคือ Workbook
เรียบร้อยแล้วเราสามารถ
บันทึก
Workbook นั้นลงในดิสก์เพื่อที่ว่าเราสามารถเรียก Workbook
นั้นกลับมาแก้ไขใหม่ได้ใน
1.
คลิกที่ปุ่มรูปดิสก์ (หมายเลข 1) ดังรูป
2.
ถ้าการบันทึกข้อมูลนั้นไม่ใช่การบันทึกครั้งแรก ข้อมูลจะถูกบันทึกลงในดิสก์ในชื่อ
ไฟล์ที่ถูกระบุไว้ก่อนแล้ว แต่ถ้าเป็นการบันทึกข้อมูลครั้งแรกจะปรากฏหน้าต่างเพื่อให้
ใส่รายละเอียดเกี่ยวกับชื่อไฟล์และตำแหน่งของไฟล์ในดิสก์ ดังรูป
ให้ใส่ชื่อของไฟล์ที่ต้องการในช่อง
File name และคลิกที่ปุ่ม Save (ในที่นี้สมมุติว่าชื่อ
หลังจากที่บันทึกข้อมูลแล้ว เราสามารถออกจากโปรแกรม
Excel
ได้โดยไม่ต้องกังวลว่า
1.
คลิกที่ปุ่มตามหมายเลข 1
-
7 -
หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าต่างเพื่อให้เราเลือกไฟล์ที่ต้องการเปิด เมื่อเลือกได้แล้วให้คลิกที่
ปุ่ม
Open (หมายเลข 1) ดังรูป
ข้อมูลที่อยู่ในไฟล์
Test1 ที่เราบันทึกไว้ก็จะปรากฏในหน้าจอของโปรแกรม Excel
การสร้างสูตรที่ซับซ้อนและการ
Copy สูตร
ปกติเมื่อเราสร้างสูตรขึ้นเรียบร้อยแล้ว ถ้าเราต้องการใช้สูตรนั้นใน
Cell
อื่นๆ เราไม่
จำเป็นต้องพิมพ์สูตรนั้นใหม่ แต่เราสามารถนำสูตรที่พิมพ์ขึ้นแล้วนำมา
Copy ไปไว้ใน Cell
อื่นๆ
ตัวอย่าง
จงพิมพ์ข้อมูลของค่าใช้จ่ายประจำเดือนต่อไปนี้พร้อมทั้งคำนวณหาผลรวมในทุกๆ เดือน
การ
Copy สูตรสามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1.
เลือก Cell ที่มีสูตรที่ต้องการ Copy แล้วคลิกที่ปุ่มหมายเลข 1 ดังรูป
-
8 -
2.
กำหนดช่วงที่ต้องการนำสูตรไปใส่ โดยคลิก Mouse ค้างเริ่มตั้งแต่ Cell
แรกที่ต้องการและลากไป
หมายเหตุ
โดยปกติเมื่อเรา Copy สูตร ตำแหน่งของ Cell ที่เราอ้างอิงในสูตรจะเปลี่ยนตามทิศทาง
การคำนวณใน Excel นั้นนอกจากจะเกิดจากสูตรที่พิมพ์ขึ้นแล้ว ยังอาจเกิดจากฟังก์ชันที่
Excel มีมาให้ก็ได้ โดยปกติรูปแบบของฟังก์ชันใน Excel จะอยู่ในรูปดังนี้
=
ชื่อฟังก์ชัน(ตัวเลขหรือ Cell ที่ส่งให้กับฟังก็ชันเพื่อคำนวณ)
ตัวอย่าง
=SUM(10,20,30,40)
􀃎
ผลรวมของตัวเลขในวงเล็บ
=AVERAGE(A1,A2,A4)
􀃎
ค่าเฉลี่ยของ Cell A1, A2 และ A4
=MAX(C1:C3)
􀃎 ค่าสูงสุดที่อยู่ใน Cell ตั้งแต่ C1 ถึง C3
-
9 -
1.
ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันที่และเวลา
2.
ฟังก์ชันทางสถิติ
3.
ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
4.
ฟังก์ชันทางตรรกศาสตร์
การจัดรูปแบบการแสดงผลของตัวเลขบน
Worksheet
-
1 0 -
General
จะแสดงผลลัพธ์ดังนี้
Number
จะใช้สำหรับกำหนดข้อมูลที่เป็นตัวเลขว่าต้องการทศนิยมกี่ตำแหน่ง มี
-
1 1 -
Percentage
คือรูปแบบการแสดงผลตัวเลขที่ตามด้วยเครื่องหมาย % ดังรูป
-
1 2 -
การสร้างกราฟนั้นจะต้องทำหลังจากที่มีข้อมูลที่จะนำมาทำกราฟใน Worksheet เรียบร้อย
แล้ว หลังจากนั้นจะต้องทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกที่ปุ่ม จะปรากฏหน้าต่างเพื่อให้เลือกชนิดของกราฟที่ต้องการดังรูป
2. หลังจากเลือกชนิดของกราฟเรียบร้อยแล้ว คลิกที่ปุ่ม Next จะปรากฏหน้าต่างเพื่อให้
กำหนดช่วงของข้อมูลที่จะนำมาสร้างกราฟ ดังรูป
􀁮
-
1 3 -
􀁮
􀁯
5. ให้เลือกรายการที่ไม่ต้องการที่ตำแหน่งหมายเลข 1 และคลิกที่ปุ่ม Remove (หมายเลข 2)
เพื่อเลือกรายการที่ไม่ต้องการออกไป
6. เมื่อเลือกเรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปุ่ม Next จะปรากฏหน้าต่างเพื่อให้ตกแต่งรายละเอียด
ของรูปกราฟ ดังต่อไปนี้
-
1 4 -
การกำหนดรายละเอียดการพิมพ์และการพิมพ์เอกสาร
การกำหนดรายละเอียดของ Worksheet ก่อนที่จะพิมพ์เอกสารไปที่เครื่องพิมพ์นั้นสามารถ
ทำได้โดยคลิกที่คำสั่ง Page Setup ภายในเมนู File โดยจะปรากฏหน้าต่างดังรูป
-
1 5 -
-
1 6 -
-
1 7 -
-
1 8 -
-
1 9 -
1. พิมพ์ข้อความต่อไปนี้ และบันทึกลงใน A:\excel\exercises1.xls
ยอดขายหนังสือชุด Microsoft Office
Word Excel PowerPoint
ม.ค. 1700 1500 2000
ก.พ. 1900 2000 1500
มี.ค. 2400 1900 2300
เม.ย. 2200 2340 2000
2. เปิดไฟล์ A:\excel\exercises1.xls จงรวมยอดขายหนังสือในเดือนมกราคม และยอดขายหนังสือ
Word และบันทึกลงใน A:\excel\ exercises2.xls
3. เปิดไฟล์ A:\excel\exercises2.xls จงรวมยอดขายหนังสือในแต่ละเดือน และยอดขายหนังสือแต่
ละประเภท และบันทึกลงใน A:\excel\example3.xls
4. เปิดไฟล์ A:\excel\exercises.xls จงนำยอดขายหนังสือแต่ละประเภทในแต่ละเดือนไปสร้างกราฟ
และบันทึกลงใน A:\excel\example4.xls

แบบฝึกหัดท้ายบท

3. Print what คือส่วนที่ใช้ระบุว่าจะพิมพ์งานจากส่วนใด ซึ่งจะมี 3 ตัวเลือกคือ
3.1 Selection เป็นการพิมพ์ข้อมูลจาก Cell ที่ได้ป้ายแถบสีไว้เท่านั้น
3.2 Active Sheet เป็นการพิมพ์ข้อมูลจาก Worksheet ที่กำลังทำงานอยู่ในปัจจุบัน
3.3 Entire workbook เป็นการพิมพ์ข้อมูลในทุกๆ Worksheet ที่มีอยู่ใน
Workbook เดียวกัน
4. Copies เป็นการระบุจำนวนชุดที่จะพิมพ์ว่าจะให้พิมพ์ซ้ำๆ กันกี่ชุด

3.3 Draft quality เป็นการกำหนดคุณภาพการพิมพ์ว่าให้เป็นการพิมพ์แบบร่าง
เท่านั้น
3.4 Row and column headings เป็นการกำหนดให้พิมพ์หัวแถวและคอลัมน์
4. Page Order คือส่วนที่ใช้ระบุลำดับของการพิมพ์ ว่าให้พิมพ์จากบนลงล่างจนถึงหน้า
สุดท้ายก่อนแล้วจึงเลื่อนไปพิมพ์ Cell ที่อยู่ในหน้าทางขวามือ หรือพิมพ์จากซ้ายไป
ขวาก่อน
หลังจากกำหนดรายละเอียดการพิมพ์เรียบร้อยแล้ว เมื่อต้องการพิมพ์ Worksheet สามารถ
ทำได้โดยคลิกที่คำสั่ง Print ภายในเมนู File โดยจะปรากฏหน้าต่างดังต่อไปนี้
ในหน้าต่างนี้จะมีส่วนที่ต้องระบุอยู่ 4 ส่วนคือ
1. Printer ในช่อง Name จะเป็นการเลือกรุ่นและยี่ห้อของเครื่องพิมพ์ (ในกรณีที่
คอมพิวเตอร์ต่อกับเครื่องพิมพ์มากกว่า 1 ตัว)
2. Print range คือส่วนที่ใช้ระบุขอบเขตของการพิมพ์ โดยจะมี 2 ตัวเลือกคือ
2.1 All หมายถึงให้พิมพ์ทุกหน้า
2.2 ให้พิมพ์เฉพาะหน้าที่ระบุ ว่าตั้งแต่หน้าที่เท่าใดจนถึงหน้าที่เท่าไร

3. Header/Footer เป็นส่วนที่ใช้กำหนด Header และ Footer ว่าจะให้พิมพ์หรือไม่ ถ้าพิมพ์จะให้
พิมพ์ข้อความใดและมีลักษณะเป็นอย่างไร ดังรูป
4. Sheet เป็นการกำหนดรายละเอียดของการสั่งพิมพ์ Worksheet ว่าจะให้มีลักษณะอย่างไรดังรูป
การกำหนดรายละเอียดนี้จะแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้
1. Print area คือการกำหนดพื้นที่การพิมพ์เฉพาะบาง Cell ใน Worksheet เท่านั้น
2. Print titles คือการกำหนดช่วงของแถวหรือคอลัมน์ที่จะให้พิมพ์ออกมาในทุกๆ หน้า
เพื่อความง่ายในการทำความเข้าใจเอกสาร
3. Print เป็นส่วนที่ใช้กำหนดรายละเอียดการพิมพ์ มีส่วนที่สำคัญดังนี้
3.1 Gridlines เป็นการกำหนดว่าจะให้พิมพ์เส้นแบ่ง Cell ของ Worksheet หรือไม่
3.2 Black and white เป็นการกำหนดให้พิมพ์แบบขาวดำเท่านั้น

ในหน้าต่างดังกล่าวมีรายละเอียดที่สามารถกำหนดได้ดังต่อไปนี้
1. Page (จากรูปด้านบน) เป็นการจัดลักษณะการพิมพ์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
1.1 Orientation เป็นการจัดลักษณะทางการพิมพ์ ซึ่งมี 2 แบบ คือ
1 Portrait คือการพิมพ์ตามแนวตั้งหรือตามปกติ
2 Landscape คือการพิมพ์ตามแนวนอนของกระดาษ
1.2 Scaling เป็นการกำหนดขนาดของ Sheet ที่จะพิมพ์ลงในกระดาษ ซึ่งเราสามารถเลือก
ให้พิมพ์ทุก Cell ให้หมดใน 1 หน้ากระดาษได้ โดยการเลือกหัวข้อ Fit to
1.3 Paper size เป็นการเลือกขนาดกระดาษที่ต้องการพิมพ์ว่าเป็นแบบใด เช่น A4 เป็นต้น
2. Margin เป็นการกำหนดขอบเขตการพิมพ์ จะมีลักษณะดังรูป
ในส่วนนี้จะใช้สำหรับการกำหนดขอบกระดาษว่าในแต่ละด้านจะให้เว้นช่องว่างขนาดเท่าไร พร้อม
ทั้งกำหนดตำแหน่งของ Header และ Footer ที่จะพิมพ์ว่าให้อยู่ที่ตำแหน่งใด

การตกแต่งกราฟจะมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. Title เป็นส่วนที่ใช้อธิบายรูปกราฟ โดยจะแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
ชื่อกราฟ (Chart Title)
ชื่อข้อมูลในแกน X (Category (X) axis)
ชื่อข้อมูลในแกน Y (Value (Y) axis)
2. Axes เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับแกน X และ Y โดยสามารถเลือกที่จะซ่อนหรือแสดงทั้ง
แกน X และ Y ได้
3. Gridlines เป็นส่วนที่ใช้สำหรับวาดตารางภายในกราฟ ว่าจะให้มีเส้นตารางแบบใดบ้าง
4. Legend เป็นส่วนที่ใช้สำหรับซ่อนหรือแสดง Legend ซึ่งถ้าเลือกแสดง จะสามารถระบุ
ตำแหน่งของ Legend ได้ว่าจะให้อยู่ที่ตำแหน่งใดของกราฟ เช่น ด้านบน ด้านล่าง
ด้านซ้าย เป็นต้น
5. Data Label เป็นส่วนที่ใช้กำหนดว่าจะให้แสดงชนิดของข้อมูลหรือค่าของข้อมูลที่
กราฟหรือไม่
6. Data Table เป็นส่วนที่ใช้กำหนดว่าจะให้แสดงตารางข้อมูลที่นำมาสร้างเป็นกราฟ
7. ขั้นตอนสุดท้ายของการสร้างกราฟนี้จะเป็นขั้นตอนในการกำหนดว่าจะให้กราฟนั้นอยู่
ใน Sheet แผ่นเดียวกับข้อมูลหรือสร้างอยู่ใน Sheet แผ่นใหม่ หลังจากเลือกแล้วให้คลิกที่
ปุ่ม Finish ก็จะได้รูปกราฟที่ต้องการ

3. พิมพ์ช่วงของ Cell ที่อยู่มุมบนซ้ายจนถึงมุมล่างขวาของข้อมูลที่จะมาทำเป็นกราฟ หรือ
จะใช้วิธีคลิกที่หมายเลข 1 และใช้ Mouse เลือก Cell ทั้งหมดที่จะนำมาสร้างเป็นกราฟก็ได้
4. หลังจากเลือก Cell เรียบร้อยแล้ว ในกรณีที่เราต้องการเลือกเฉพาะข้อมูลบางกลุ่มมา
สร้างกราฟนั้นสามารถทำได้โดยคลิกที่หมายเลข 2 (จากรูปด้านบน) จะปรากฏหน้าต่างดังนี้

การสร้างกราฟ
4. หลังจากเลือกรูปแบบการแสดงผลเรียบร้อยแล้วให้คลิกที่ปุ่ม OK
เครื่องหมายจุลภาคที่ตำแหน่งหลักพันหรือไม่ และรูปแบบของเครื่องหมายลบว่าเป็นแบบใด ดังรูป
1. ตัวเลขชิดซ้าย Cell
2. ตัวเลข 0 ที่ไม่มีนัยสำคัญจะถูกตัดทิ้ง
3. ถ้าตัวเลขมีความยาวมากกว่าความกว้างของ Cell จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปของ
Scientific

3. ให้เลือกรูปแบบที่ต้องการ โดยรูปแบบต่างๆ ที่สำคัญมีดังต่อไปนี้

หมายถึงการจัดรูปแบบการแสดงผลต่างๆ ของตัวเลขภายใน Cell ว่าต้องการให้มีลักษณะ
อย่างไร เช่น เราต้องการให้มีทศนิยมกี่ตำแหน่ง หรือให้มีเครื่องหมายจุลภาคที่ตำแหน่งหลักพัน
หรือไม่ เป็นต้น การจัดรูปแบบการแสดงผลสามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. เลือก Cell ที่ต้องการจัดรูปแบบ
2. คลิก Mouse ด้านขวา จะปรากฏเมนูขึ้นให้เลือกคำสั่ง Format Cells จะปรากฏหน้าต่าง
ดังต่อไปนี้

=If(Logical_Test, Value_If_True, Value_If_False) : คือการเปรียบเทียบเงื่อนไข
Logical_Test ซี่งถ้าผลลัพธ์เป็นจริงให้ทำตาม Value_If_True ถ้าผลลัพธ์เป็นเท็จให้ทำตาม
Value_If_false

=Sum(Number1, Number2) : หาผลรวมของข้อมูล
=Round(Number, Num_Digits) : ปัดตัวเลขทศนิยม Number ให้เหลือจำนวนเท่ากับ
Num_Digits

=Min(Number1, Number2,…) : หาค่าที่น้อยที่สุด
=Max(Number1, Number2,…) : หาค่าที่มากที่สุด
=Count(Value1, Value2,…) : นับจำนวนตัวเลขทั้งหมดที่มีอยู่ (ไม่นับข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข)
=Average(Number1, Number2) : หาค่าเฉลี่ยของข้อมูล

=NOW() : ทำหน้าที่แสดงวันที่และเวลาปัจจุบัน

ฟังก์ชันภายใน Excel สามารถแบ่งได้เป็นหลายประเภท แต่ในที่นี้จะกล่าวเพียงบาง
ประเภทเท่านั้น คือ

ประเภทของฟังก์ชัน

โดย Cell ที่ส่งให้กับฟังก์ชันอาจอยู่ในรูปของ Cell ที่ระบุหรือช่วงของ Cell ก็ได้

ฟังก์ชัน
ของการ Copy โดยอัตโนมัติดังรูป
ถึงแม้ว่าคุณสมบัตินี้ของ Excel จะทำให้การ Copy สูตรทำได้อย่างสะดวกและมี
ประสิทธิภาพ แต่ในบางครั้งเราอาจไม่ต้องการให้ ตำแหน่งของ Cell ที่อ้างอิงมีการเปลี่ยนแปลงไป
ตามการ Copy ซึ่งในกรณีนั้นเราสามารถทำได้โดยการใส่เครื่องหมาย $ ด้านหน้าของแถวหรือ
คอลัมน์ที่ไม่ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างเช่น ถ้าไม่ต้องการให้แถวที่ 17 จากสูตรด้านบน
มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อ Copy เราจะต้องพิมพ์สูตรเป็น =D$17+F19 หรือถ้าต้องการให้ทั้งแถวและ
คอลัมน์ในทุกๆ ตำแหน่งมีการเปลี่ยนแปลง เราจะต้องพิมพ์สูตรเป็น =$D$17+$F$19
จนกระทั่ง Cell สุดท้ายแล้วจึงปล่อย Mouse

􀁮
ได้ ดังตัวอย่าง

􀁮

􀁮
ข้อมูลจะหายไป เนื่องจากข้อมูลที่บันทึกไว้แล้วจะถูกเก็บไว้ในดิสก์ตลอดเวลา และเมื่อเราต้องการ
เปิดข้อมูลนั้นขึ้นมาใหม่ ก็สามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้

Test1)

􀁮

การบันทึกข้อมูลนั้นสามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้
ภายหลัง

การบันทึกข้อมูลและการเปิดข้อมูลเก่า
เปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ที่อยู่ในช่องที่ใส่สูตรจะเปลี่ยนให้ถูกต้องตามไปด้วย
คำนวณของสูตร
สูตรนั้นสามารถทำได้ตามขั้นตอนต่อไปนี้

เราสามารถพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการได้โดยทำตามขั้นตอนดังนี้

การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น
สถานะของการทำงานในขณะนั้น

4. Cell Pointer

3. Cell
พิมพ์ ลักษณะของตัวอักษร และตำแหน่งของตัวอักษรได้จากส่วนนี้

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ประวัติการพัฒนาภาษาปาสคาล
ประมาณปี พ.ศ. 2514 ดร.นิคลอล เวียร์ต (Professor Doctor Nicklaus Wirth) ชาวเมืองซูริค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ได้พัฒนาภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาภาษาหนึ่ง ซึ่งจุดมุ่งหมายหลักในการพัฒนาภาษานี้ คือ ให้เป็นภาษาสำหรับฝึกเขียนโปแกรมสั่งงานคอมพิวเตอร์อย่างมีระบบและมีระเบียบ และได้กำหนดให้ภาษาใหม่นี้มีชื่อว่า ภาษาปาสคาล (Pascal Language) เพื่อเป็นเกียรติแก่ Blaise Pascal นักคณิตศาสตร์และปรัชญาแมธีชาวฝรั่งเศสผู้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกของโลก
ภาษาปาสคาลมีต้นแบบมาจากภาษา ALGOL (Algorithmic Language) และตัวภาษาปาสคาลเองก็ได้ถูกพัฒนาต่อไปเป็นภาษาที่รู้จักกันในชื่อต่าง ๆ เช่น ภาษา MODULA2 ภาษา Ada ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับการคาดหมายว่าจะได้รับความนิยมในอนาคต แต่เป็นภาษาใหม่ที่มีโครงสร้างซับซ้อน
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลต้องเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสร้างและมีระเบียบ แบบแผน เป็นภาษาที่ไม่มีหมายเลขบรรทัดแต่ทำงานตามลำดับโครงสร้างของโปรแกรม ดังนั้นภาษาปาสคาลเหมาะกับการศึกษาภาษาที่ใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดย ตรงและวิธีการเขียนโปรแกรมที่ถูกต้องเพื่อนำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาชั้น สูงอื่น ๆ และ ภาษาเครื่อง รวมทั้งซอฟต์แวร์กึ่งสำเร็จรูป ต่อไปได้
สัญลักษณ์เบื้องต้น (Basic Symbol)
สัญลักษณ์ที่ใช้ในภาษาปาสคาลแบ่งออกได้เป็น 3 พวก ได้แก่
1. letter ได้แก่ A-Z , a-z และ มีขีดล่าง (_ อ่านว่า Underscore)
2. digit ได้แก่ 0-9 3 . Special symbol สัญลักษณ์พิเศษได้แก่ + - * / = ^ () [] {}. , : ; ' # $
หมายเหตุ ไม่มีความแตกต่างระหว่างอักษรพิมพ์ใหญ่และอักษรพิมพ์เล็ก
คำอธิบาย
โดยหลักการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาปาสคาลแล้วจะต้องเขียนโปรแกรมให้ถูกต้องตามรูปแบบของคำสั่งภาษาซึ่งจะมีความหมายในตัวเองแล้ว แต่บางครั้งถ้าต้องการคำอธิบายเพิ่มเติมเพื่อสร้างความเข้าใจสามารถเขียนคำอธิบายเพิ่มเติมไว้ได้ในเครื่องหมาย { } ซึ่งสิ่งที่อยู่ในเครื่องหมาย { } ภาษาปาสคาลจะไม่ทำการคอมไพ
การเขียนคำอธิบายอาจจะเขียนอยู่ในโปรแกรม คือ ตั่งแต่คำว่า PROGRAM จนถึงคำว่า END. หรือจะอยู่นอกโปรแกรมก็ได้ เช่น
ตัวอย่าง 1.3.1 การเขียนคำอธิบายในโปรแกรม
Program Show Name;
Uses Crt;
Ch : Char;
Begin
{โปรแกรมแนะนำตนเอง}
Clrscr;
Writeln(‘อรทัย ชัยรัตนศักดิ์’);
Writeln(‘โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ’);
Writeln(‘สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม’);
Ch := read key;
End.
ตัวอย่าง 1.3.2 การเขียนคำอธิบายนอกโปรแกรม
{โปรแกรมแนะนำตนเอง}
Program Show Name;
Uses Crt;
Ch : Char;
Begin
Closure;
Written(‘อรทัย ชัยรัตนศักดิ์’);
Written(‘โปรแกรมวิทยาการคอมพิวเตอร์ ’);
Written(‘สถาบันราชภัฎพิบูลสงคราม’);
Ch := read key;
End.
ชื่อ (Identifier)
ชื่อ ได้แก่ ชื่อที่ใช้ในโปรแกรม เช่น ใช้เป็นชื่อโปรแกรม ชื่อตัวแปร ชื่อตัวคงที่ ชื่อ procedure ชื่อ Function ชื่อประกอบขึ้นจาก letter หรือ digit แต่จะต้องไม่ขึ้นต้นด้วย digit และจะต้องไม่มีช่องว่างในส่วนประกอบเหล่านี้ ชื่อต้องมีความยาวอย่างน้อย 1 อักขระ แต่ไม่เกิน 127 อักขระ หรือไม่เกิน 1 ไลน์ (Line)
ตัวอย่าง
1. ต่อไปนี้เป็น identifier
power ,Supper ,x_bar ,X2
2. ต่อไปนี้ไม่เป็น identifier
4time ไม่เป็นเพราะขึ้นต้นด้วยตัวเลข
No. ไม่เป็นเพราะมีเครื่องหมาย .
name#5 ไม่เป็นเพราะมีเครื่องหมาย #
xy 8 ไม่เป็นเพราะมีช่องว่าง
คำในภาษาปาสคาล (Word)
Word ได้แก่คำที่ใช้ในปาสคาลแบ่งออกได้เป็น
1. คำสงวน (Reserved Word) ได้แก่คำที่ใช้ในการกำหนดรูปแบบต่าง ๆ ในProgram ตามข้อกำหนดของภาษาปาสคาล ซึ่งคำสงวนนี้ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ และไม่สามารถนำมาตั้งเป็นชื่อได้
2. คำมาตรฐาน (Standard Word) ได้แก่คำที่เป็น Procedure หรือ Functionมาตรฐาน เป็นคำที่เปรียบเสมือนคำสั่งในโปรแกรม แต่ตัวมันเองเป็นโปรแกรม สามารถนำคำมาตรฐานมาเป็นชื่อได้แต่ไม่ควรทำเพราะจะทำให้เสียความหมายเดิมไป จึงต้องระวังอย่ากำหนดชื่อให้ซ้ำกับคำมาตรฐาน คำมาตรฐานได้แก่คำที่กำหนดใหม่ (User defined Word) โดยผู้ใช้ ซึ่งอาจจะเขียนเป็น Procedure หรือ Function และต้องไม่เป็นคำที่ปรากฏในข้อ 1, 2
ค่าคงที่ (Constants)
ค่าคงที่ (Constants) คือ ค่าที่กำหนดขึ้นมาใช้ในโปรแกรม โดยค่าคงที่นี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงค่านั้นอีกตลอดการรันโปรแกรมนั้น ๆ เช่น
‘G’ เป็นค่าคงที่แบบอักขระ
‘Computer’ เป็นค่าคงที่แบบสตริง
2546 เป็นค่าคงที่แบบตัวเลข
หมายเหตุ
1. ค่าคงที่แบบอักขระและแบบสตริงต้องอยู่ในเครื่องหมายคำพูดเดี่ยวเท่านั้น (‘) และภายในเครื่องหมายคำพูดหากมีการเว้นช่องว่างจะถือว่าเป็นอักขระตัวหนึ่ง คือเป็นช่องว่างเมื่อออกจอภาพ
2. 2456 เป็นค่าคงที่แบบตัวเลข อ่านว่า สองพันสี่ร้อยห้าสิบหก สามารถนำไปทำการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้ แต่ถ้าเขียนไว้ในเครื่องหมายคำพูด ’2456’ จะเป็นค่าคงที่แบบสตริง อ่านว่า สองสี่ห้าหก ไม่สามารถนำมาทำการคำนวณทางคณิตศาสตร์ได้
แบบของข้อมูล (Data Type)
แบบของข้อมูล (Data Type) คือ การกำหนดคุณสมบัติให้กับตัวแปรข้อมูลชนิดนั้น ๆ ซึ่งแต่ละภาษาจะมีแบบของข้อมูลที่กำหนดมาให้เป็นมาตรฐานแล้ว เช่น Integer Real Boolean Char หรือผู้ใช้สามารถกำหนดแบบของข้อมูลชนิดใหม่ขึ้นมาใช้ได้ด้วยตัวเอง เช่น String Array
ตัวแปร (Variables)
ตัวแปร (Variables) คือ การตั้งชื่อหน่วยความจำที่ใช้ในการอ้างถึงหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลในภาษาเครื่องโดยอ้างถึงแอดเดรส สามารถอ่านค่าและเปลี่ยนแปลงค่าได้ตลอดเวลา
สำหรับขนาดของหน่วยความจำของแต่ละข้อมูลหรือแต่ละตัวแปรนั้น จะมีขนาดไม่เท่ากัน ขึ้นกับแบบของข้อมูลของตัวแปรนั้น ๆ และตัวแปรแต่ละตัวถ้ากำหนดมาสำหรับแบบข้อมูลแบบไหนจะเก็บข้อมูลแบบนั้นได้ เท่านั้นไม่สามารถเก็บข้อมูลแบบอื่น ๆ ได้ การกำหนดตัวแปร เช่น
Var I : Integer;
R : Real;
Ch : Char;
St : String(10);
เป็นการกำหนดตัวแปร I เก็บข้อมูลแบบ Integer คือจำนวนเต็ม R เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลแบบจำนวนจริง Ch เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลแบบอักขระ และ St เป็นตัวแปรเก็บข้อมูลแบบสตริงยาวไม่เกิน 10 อักขระ
การให้ค่าคงที่ตัวแปร (Aassignment Variables )
เมื่อกำหนดตัวแปรแล้ว การดำเนินการทำสำคัญกับตัวแปร คือ การให้ค่ากับตัวแปร ซึ่งทำได้ 2 วิธีการ คือ
1. การอ่านจากอุปกรณ์ภายนอก เช่น การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด การอ่านค่าจากไฟล์ข้อมูล
2. การให้ค่าแก่ตัวแปรในโปรแกรม การให้ค่าแก่ตัวแปรในโปรแกรม ด้วยเครื่องหมาย := หมายความว่า เอาค่าที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของเครื่องหมาย มาเก็บไว้ที่ตัวแปรที่อยู่ทางด้านขวามือของเครื่องหมาย สิ่งที่อยู่ทางด้านซ้ายมือของเครื่องหมาย ต้องเป็นตัวแปรครั้งละ 1 ตัวเท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ทางด้านขวามือของเครื่องหมาย สามารถเป็นได้ คือ
1. ค่าคงที่ เช่น Num: = 3; เป็นการให้ค่า 3 แก่ตัวแปร Num
Name: = ‘อรทัย’; เป็นการให้ค่าอรทัยแก่ตัวแปร Name
2. ตัวแปร เช่น Sum: = Num; เป็นการให้ค่า Num แก่ตัวแปร Sum ดังนั้น Sum ก็จะมีค่า 3 ตามค่าของ Num
3. นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เช่น Sum: = Num + 5; จะนำค่า Num มาเพิ่มอีก 5 แล้วให้ค่าแก่ตัวแปร Sum ดังนั้น Sum จะมีค่าเป็น 8
Num := Num + 1; จะนำค่า Num มาเพิ่มอีก 1 แล้วเก็บค่าไว้ที่ Num เหมือนเดิม ดังนั้น Num จะมีค่า เป็น 4
4. ฟังก์ชั่น เช่น Ch := Chr (125); เป็นการนำค่า 125 มาทำการแปลงด้วยคำสั่ง Chr ซึ่งเป็นการอ่านค่าตามรหัส ASCII ให้แก่ตัวแปร Ch
คณิตศาสตร์บูลีน (Boolean algebra)
คณิตศาสตร์บูลีน (Boolean Algebra) เป็นการดำเนินกรรมวิธีทางตรรกตัวดำเนินการ (Operators) ที่ใช้มากและมีในภาษาปาสคาลได้ได้ AND, OR และ XOR เรียกว่าตัวดำเนินการบูลีน (Boolean Operators) AND ให้ความเป็นจริงเมื่อเงื่อนไขเป็นจริงทั้งหมด นอกนั้นอีก 3 กรณีเป็นเท็จ OR ให้ความเป็นจริงเมื่อเงื่อนไขอันใดอันหนึ่งเป็นจริง ให้ความเป็นเท็จเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จทั้งหมด XOR ให้ความเป็นจริงเมื่อเงื่อนไขอันใดอันหนึ่งเป็นจริงเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น ถ้าเหมือนทุกเงื่อนไขจะเป็นเท็จ
operator operation operanal type result type
AND arithmetic and Integer Integer
AND logical and Boolean Boolean
OR arithmetic or Integer Integer
OR logical or Boolean Boolean
XOR arithmetic xor Integer Integer
XOR logical xor Boolean Boolean
ตัวอย่าง ตารางตรรกศาสตร์บูลีน
X Y AND OR XOR
true true true true false
true false false true true
false true false true true
false false false false false
ตัวดำเนินการ (Operators)
ตัวดำเนินการ (Operators) คือ เครื่องหมายที่ใช้ในการดำเนินกรรมวิธี เช่น เครื่องหมาย บวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น กรรมวิธีในการดำเนินการในภาษาปาสคาล กระทำเช่นเดียวกับพีชคณิต คือ จะให้ข้อมูลทางซ้ายของตัวดำเนินการเป็นตัวตั้ง และให้ข้อมูลทางขวาของตัวดำเนินการเป็นตัวกระทำ
operator operation operanal type result type
+ addition Real, Real Real
+ addition Integer, Integer Integer
+ addition Real, Integer Real
- subtraction Real, Real Real
- subtraction Integer, Integer Integer
- subtraction Integer, Real Real
* multiplication Real, Real Real
* multiplication Integer, Integer Integer
* multiplication Real, Integer Real
/ division Real, Real Real
/ division Integer, Integer Real
/ division Real, Integer Real
DIV division Integer Integer
MOD modules Integer Integer
หมายเหตุ
DIV เป็นการหารแบบปัดเศษทิ้ง
MOD เป็นเศษของการหาร
ตัวอย่าง
123/4 = 30.75
123 DIV 4 = 30